myRSS by kankar.com http://www.kankar.com/ ข้อมูลล่าสุดของบทความ en-us ฟรี!! เว็บสำเร็จรูป สร้างเว็บ ทําเว็บ สร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ รับทําเว็บไซต์ ทำเว็บ การสร้างเว็บไซต์ http://www.kankar.com/ http://www.kankar.com/images/front/logo-print.jpg 240 66 ทําเว็บ สร้างเว็บ ด้วยสุดยอดระบบ เว็บสำเร็จรูป การสร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ จะเป็นเรื่องง่ายๆ ฟรี สร้างเว็บ ทำเว็บ สร้างเว็บไซต์ ที่ kankar.com ที่ดิน เขตพื้นที่สีเขียวมะกอก http://www.baan168.com/article/topic-871.html <h1> <span class="col6-5" style="overflow:hidden;" title="ที่ดิน เขตพื้นที่สีม่วง">ที่ดิน </span>เขตพื้นที่สีเขียวมะกอก</h1> <h2> ข้อกำหนด</h2> <p> ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอกให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา</p> <h2> การใช้ประโยชน์</h2> <p> ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับการศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น</p> <h2> ข้อห้ามการใช้ประโยชน์</h2> <p> -<br /> <br /> &nbsp;</p> Wed, 23 Jan 2013 09:03:00 +0700 ที่ดิน เขตพื้นที่สีน้ำเงิน http://www.baan168.com/article/topic-873.html <h1> ที่ดิน เขตพื้นที่สีน้ำเงิน</h1> <h2> ข้อกำหนด</h2> <p> ที่กำหนดไว้เป็นสีน้ำเงิน ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ</p> <h2> การใช้ประโยชน์</h2> <p> ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการของรัฐ กิจการเกี่ยวกับการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น</p> <h2> ข้อห้ามการใช้ประโยชน์</h2> <p> -<br /> <br /> &nbsp;</p> Wed, 23 Jan 2013 08:58:00 +0700 ที่ดิน เขตพื้นที่สีเทาอ่อน http://www.baan168.com/article/topic-872.html <h1> ที่ดิน เขตพื้นที่สีเทาอ่อน</h1> <h2> ข้อกำหนด</h2> <p> ที่กำหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันศาสนา</p> <h2> การใช้ประโยชน์</h2> <p> ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการศาสนาหรือเกี่ยวข้องกับการศาสนา การศึกษา สถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น</p> <h2> ข้อห้ามการใช้ประโยชน์</h2> <p> -<br /> <br /> &nbsp;</p> Wed, 23 Jan 2013 08:58:00 +0700 ที่ดิน เขตพื้นที่สีเขียวอ่อน http://www.baan168.com/article/topic-870.html <h1> ที่ดิน เขตพื้นที่สีเขียวอ่อน</h1> <h2> ข้อกำหนด</h2> <p> ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม</p> <h2> การใช้ประโยชน์</h2> <p> ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น</p> <h2> ข้อห้ามการใช้ประโยชน์</h2> <p> -</p> Wed, 23 Jan 2013 08:58:00 +0700 ที่ดิน เขตพื้นที่สีเขียว http://www.baan168.com/article/topic-869.html <h1> ที่ดิน เขตพื้นที่สีเขียว</h1> <h2> ข้อกำหนด</h2> <p> ที่กำหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เป็นที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม</p> <h2> การใช้ประโยชน์</h2> <p> ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่สำหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ กิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ</p> <h2> ข้อห้ามการใช้ประโยชน์</h2> <p> (๑) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และจำพวกที่กำหนดให้ดำเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน<br /> &nbsp;(๒) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม<br /> (๓) สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ<br /> (๔) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม<br /> (๕) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม เว้นแต่เป็นส่วนหนึ่งของการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย และมีพื้นที่ไม่เกินร้อยละห้าของพื้นที่โครงการทั้งหมด<br /> (๖) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่<br /> (๗) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทห้องแถวหรือตึกแถว เว้นแต่เป็นการดำเนินการในโครงการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย และมีพื้นที่ไม่เกินร้อยละห้าของพื้นที่โครงการทั้งหมด<br /> (๘) การอยู่อาศัยประเภทห้องชุด อาคารชุด หรือหอพักกรณีที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการจัดสรรที่ดินเพื่อประกอบ พาณิชยกรรมตาม (๕) และเพื่อการอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทห้องแถวหรือตึกแถวตาม (๗) ดำเนินการอยู่ในโครงการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยโครงการเดียวกัน ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการดังกล่าวรวมกันไม่เกินร้อยละห้าของพื้นที่ โครงการทั้งหมด<br /> <br /> &nbsp;</p> Wed, 23 Jan 2013 08:57:00 +0700 ที่ดิน เขตพื้นที่สีม่วงอ่อน http://www.baan168.com/article/topic-868.html <h1> ที่ดิน เขตพื้นที่สีม่วงอ่อน</h1> <h2> ข้อกำหนด</h2> <p> ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๖.๑ ถึงหมายเลข ๖.๗ ที่กำหนดไว้เป็นสีม่วงอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ</p> <h2> การใช้ประโยชน์</h2> <p> ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่ออุตสาหกรรมที่ประกอบกิจการในลักษณะโรงงานตาม กฎหมายว่าด้วยโรงงานตามประเภท ชนิด และจำพวกที่กำหนด ให้ดำเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ โรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน คลังสินค้าสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สำหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ</p> <h2> ข้อห้ามการใช้ประโยชน์</h2> <p> (๑) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และ<br /> จำพวกที่กำหนดให้ดำเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน(๒) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม<br /> (๓) สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ<br /> (๔) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม<br /> (๕) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม เว้นแต่เป็นส่วนหนึ่งของการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย และมีพื้นที่ไม่เกินร้อยละห้าของพื้นที่โครงการทั้งหมด<br /> (๖) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่<br /> (๗) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทห้องแถวหรือตึกแถว เว้นแต่เป็นการดำเนินการในโครงการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย และมีพื้นที่ไม่เกินร้อยละห้าของพื้นที่โครงการทั้งหมด</p> (๘) การอยู่อาศัยประเภทห้องชุด อาคารชุด หรือหอพักกรณีที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการจัดสรรที่ดินเพื่อประกอบ พาณิชยกรรมตาม (๕) และเพื่อการอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทห้องแถวหรือตึกแถวตาม (๗) ดำเนินการอยู่ในโครงการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยโครงการเดียวกัน ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการดังกล่าวรวมกันไม่เกินร้อยละห้าของพื้นที่ โครงการทั้งหมด<br /> <br /> Wed, 23 Jan 2013 08:57:00 +0700 ที่ดิน เขตพื้นที่สีม่วง http://www.baan168.com/article/topic-867.html <h1> ที่ดิน <strong>เขตพื้นที่สีม่วง</strong></h1> <h2> ข้อกำหนด</h2> <p> ที่กำหนดไว้เป็นสีม่วง ให้เป็นที่ดิน ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า</p> <h2> การใช้ประโยชน์</h2> <p> ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่ออุตสาหกรรมคลังสินค้า สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สำหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ</p> <h2> ข้อห้ามการใช้ประโยชน์</h2> <p> (๑) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน<br /> (๒) สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ<br /> (๓) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงเด็ก<br /> (๔) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงคนชราการใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งลำคลองหรือ แหล่งน้ำสาธารณะ ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของลำคลองหรือแหล่งน้ำสาธารณะ ไม่น้อยกว่า ๖ เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมทางน้ำหรือการสาธารณูปโภค</p> Wed, 23 Jan 2013 08:57:00 +0700 ที่ดิน เขตพื้นที่สีแดง http://www.baan168.com/article/topic-864.html <h1> ที่ดิน <strong>เขตพื้นที่สีแดง</strong></h1> <h2> ข้อกำหนด</h2> <p> ที่กำหนดไว้เป็นสีแดง ให้เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก</p> <h2> การใช้ประโยชน์</h2> <p> ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สำหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ</p> <h2> ข้อห้ามการใช้ประโยชน์</h2> <p> (๑) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิดและจำพวกที่กำหนดให้ดำเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้<br /> (๒) สถานที่บรรจุก๊าซ สถานที่เก็บก๊าซ และห้องบรรจุก๊าซตามกฎหมายว่าด้วยการบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลว แต่ไม่หมายความรวมถึงร้านจำหน่ายก๊าซ สถานที่ใช้ก๊าซ และสถานที่จำหน่าย<br /> อาหารที่ใช้ก๊าซ<br /> (๓) สถานที่ที่ใช้ในการเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อจำหน่ายที่ต้องขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง<br /> (๔) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า<br /> (๕) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน<br /> (๖) โรงฆ่าสัตว์ เว้นแต่เป็นการประกอบการโดยหน่วยงานของรัฐ<br /> (๗) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร<br /> (๘) กำจัดมูลฝอย<br /> (๙) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ<br /> <br /> &nbsp;</p> Wed, 23 Jan 2013 08:57:00 +0700 ที่ดิน เขตพื้นที่สีส้ม http://www.baan168.com/article/topic-866.html <h1> ที่ดิน <strong>เขตพื้นที่สีส้ม</strong></h1> <h2> ข้อกำหนด</h2> <p> ที่กำหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง</p> <h2> การใช้ประโยชน์</h2> <p> ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สำหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสามสิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ</p> <h2> ข้อห้ามการใช้ประโยชน์</h2> <p> (๑) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิดและจำพวกที่กำหนดให้ดำเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน<br /> (๒) สถานที่บรรจุก๊าซ สถานที่เก็บก๊าซ และห้องบรรจุก๊าซตามกฎหมายว่าด้วยการบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลว แต่ไม่หมายความรวมถึงสถานีบริการ ร้านจำ หน่ายก๊าซ สถานที่ใช้ก๊าซและสถานที่จำหน่ายอาหารที่ใช้ก๊าซ<br /> (๓) สถานที่ที่ใช้ในการเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อจำหน่ายที่ต้องขออนุญาตตาม กฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง เว้นแต่เป็นสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง<br /> (๔) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า<br /> (๕) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน<br /> (๖) สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ<br /> (๗) โรงฆ่าสัตว์ เว้นแต่เป็นการประกอบการโดยหน่วยงานของรัฐ<br /> (๘) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร<br /> (๙) กำจัดมูลฝอย<br /> (๑๐) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ<br /> <br /> &nbsp;</p> Wed, 23 Jan 2013 08:56:00 +0700 ที่ดิน เขตพื้นที่สีเหลือง http://www.baan168.com/article/topic-865.html <h1> ที่ดิน <strong>เขตพื้นที่สีเหลือง</strong></h1> <h2> ข้อกำหนด</h2> <p> กำหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็น ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย</p> <h2> การใช้ประโยชน์</h2> ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สำหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ <h2> ข้อห้ามการใช้ประโยชน์</h2> <p> (๑) โรงงานทุกจำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด และจำพวกที่กำหนดให้ดำเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ และโรงงานบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน<br /> (๒) สถานที่บรรจุก๊าซ สถานที่เก็บก๊าซ และห้องบรรจุก๊าซตามกฎหมายว่าด้วยการบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลว แต่ไม่หมายความรวมถึงสถานีบริการ ร้านจำหน่ายก๊าซ สถานที่ใช้ก๊าซและสถานที่จำหน่ายอาหารที่ใช้ก๊าซ<br /> (๓) สถานที่ที่ใช้ในการเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อจำหน่ายที่ต้องขออนุญาตตาม กฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง เว้นแต่เป็นสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง<br /> (๔) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า<br /> (๕) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน<br /> (๖) สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ<br /> (๗) โรงฆ่าสัตว์ เว้นแต่เป็นการประกอบการโดยหน่วยงานของรัฐ<br /> (๘) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร<br /> (๙) กำจัดมูลฝอย<br /> (๑๐) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ<br /> &nbsp;</p> Wed, 23 Jan 2013 08:56:00 +0700 ข้อมูลที่ดิน ข้อกำหนดของโซนพื้นที่สี http://www.baan168.com/article/topic-874.html <br /> <br /> <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width: 100%"> <tbody> <tr> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-865.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><img alt="" src="http://baan168.com/storage/1/345/uploads/images/zone1.png" style="width: 45px; height: 20px;" /></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-865.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><strong>&nbsp;เขตสีเหลือง</strong></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-865.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;">ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย</span></a></td> </tr> <tr> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-866.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><img alt="" src="http://baan168.com/storage/1/345/uploads/images/zone2.png" style="width: 44px; height: 18px;" /></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-866.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><strong>&nbsp;เขตสีส้ม</strong></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-866.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;">ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง</span></a></td> </tr> <tr> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-864.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><img alt="" src="http://baan168.com/storage/1/345/uploads/images/zone3.png" style="width: 44px; height: 19px;" /></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-864.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><strong>&nbsp;เขตสีแดง</strong></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-864.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;">ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก</span></a></td> </tr> <tr> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-867.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><img alt="" src="http://baan168.com/storage/1/345/uploads/images/zone4.png" style="width: 44px; height: 17px;" /></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-867.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><strong>&nbsp;เขตสีม่วง</strong></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-867.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;">ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า</span></a></td> </tr> <tr> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-868.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><img alt="" src="http://baan168.com/storage/1/345/uploads/images/zone5.png" style="width: 44px; height: 17px;" /></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-868.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><strong>&nbsp;เขตสีม่วงอ่อน</strong></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-868.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;">ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ</span></a></td> </tr> <tr> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-869.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><img alt="" src="http://baan168.com/storage/1/345/uploads/images/zone6.png" style="width: 44px; height: 18px;" /></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-869.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><strong>&nbsp;เขตสีเขียว</strong></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-869.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;">ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม</span></a></td> </tr> <tr> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-870.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><img alt="" src="http://baan168.com/storage/1/345/uploads/images/zone7.png" style="width: 44px; height: 19px;" /></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-870.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><strong>&nbsp;เขตสีเขียวอ่อน</strong></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-870.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;">ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม</span></a></td> </tr> <tr> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-871.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><img alt="" src="http://baan168.com/storage/1/345/uploads/images/zone8.png" style="width: 44px; height: 18px;" /></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-871.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><strong>&nbsp;เขตสีเขียวมะกอก</strong></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-871.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;">ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา</span></a></td> </tr> <tr> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-872.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><img alt="" src="http://baan168.com/storage/1/345/uploads/images/zone9.png" style="width: 43px; height: 18px;" /></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-872.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><strong>&nbsp;เขตสีเทาอ่อน</strong></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-872.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;">ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา</span></a></td> </tr> <tr> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-873.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><img alt="" src="http://baan168.com/storage/1/345/uploads/images/zone10.png" style="width: 43px; height: 18px;" /></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-873.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;"><strong>&nbsp;เขตสีน้ำเงิน</strong></span></a></td> <td> <a href="http://baan168.com/article/topic-873.html" target="_blank"><span style="font-size:16px;">ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ</span></a></td> </tr> </tbody> </table> <br /> Wed, 23 Jan 2013 08:54:00 +0700 ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการขายฝากที่ดิน http://www.baan168.com/article/topic-862.html <br /> <span style="font-size:16px;"><span style="color:#008000;"><strong>สำนักงานที่ดินเป็นผู้จัดเก็บ</strong></span><br /> - ค่าคำขอ แปลงล่ะ 5 บาท<br /> - ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน 2% ของราคาประเมินทุนทรัพย์<br /> - ค่าอากรสแตมป์ คิดจากราคาประเมินทุนทรัพย์หรือราคาซื้อขาย แล้วแต่ว่าราคาไหนสูงกว่า โดยทุก 200 บาท เสีย 1 บาท<br /> - ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 0 - 3.3% (<a href="http://www.baan168.com/page-10.html" target="_blank">ดูรายละเอียด</a>)<br /> - ค่าภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย<br /> <br /> <span style="color:#800080;"><strong>ผู้รับซื้อฝากเป็นผู้เก็บ</strong></span><br /> - ค่าปากถุง 3-5% ขึ้นกับลักษณะหลักทรัพย์ ราคาซื้อขาย ทำเลที่ตั้ง<br /> - <u><span style="color:#000000;"><span style="background-color: rgb(255, 255, 0);">ไม่หักดอกเบี้ยล่วงหน้า</span></span></u> หรือ หัก 3 เดือน (แล้วแต่ตกลง)<br /> <br /> <br /> <u>หมายเหตุ</u>: ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการทำธุรกรรม ทางผู้ขายฝากจะเป็นผู้ชำระทั้งหมด โดยหักออกจากยอดเงินขายฝาก</span><br /> Thu, 17 Jan 2013 18:03:00 +0700 ขายฝาก คืออะไร http://www.baan168.com/article/topic-859.html <h3> <span style="color:#006400;"><u>การขายฝาก คืออะไร?</u></span></h3> <p> <span style="color: #ffffff;"><span style="color: #000000;">การขายฝาก คือ การซื้อขายอย่างหนึ่งซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตกเป็นของผู้ซื้อฝากทันที แต่มีข้อตกลงว่า &nbsp;ผู้ขายฝากอาจไถ่ทรัพย์คืนได้ภายในเวลาที่กำหนด</span></span></p> <h3> <span style="color:#800080;"><u>ทรัพย์สินใดขายฝากได้บ้าง? </u></span></h3> <p> <span style="color: #ffffff;"><span style="color: #000000;">ทรัพย์สินทุกชนิดขายฝากได้ ไม่ว่าจะเป็นบ้าน ที่ดิน รถยนต์ เรือ นาฬิกา&nbsp;แต่การซื้อขายทรัพย์บางอย่างต้องทำตามแบบที่กฎหมายกำหนดไว้</span></span></p> <h3> <span style="color:#b22222;"><u>แบบของสัญญาขายฝาก</u></span></h3> <p> <span style="color: #ffffff;"><span style="color: #000000;">1. ถ้าเป็นการขายฝากอสังหาริมทรัพย์ (ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้) เช่น บ้าน หรือที่ดิน หรือขายฝากเรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไป เรือกลไฟหรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป เรือนแพที่คนอยู่อาศัย สัตว์พาหนะ เช่น ช้าง ม้า โค เป็นต้น</span></span></p> <p> <span style="color: #ffffff;"><span style="color: #000000;">2. ถ้าเป็นการขายฝากสังหาริมทรัพย์ ที่มีราคา 500 บาทหรือเรียกว่า 500 บาท&nbsp;ขึ้นไป&nbsp;การขายฝากนี้จะต้องทำหลักฐานเป็นหนังสือ&nbsp;&nbsp;ให้ผู้ขายและผู้ซื้อลง ชื่อไว้ในหนังสือหรือต้องมีการวางมัดจำ&nbsp;หรือมีการชำระหนี้บางส่วนไปแล้ว&nbsp;&nbsp; มิฉะนั้นจะฟ้องร้องให้ศาลบังคับไม่ได้</span></span><br /> &nbsp;</p> <h3> <span style="color:#0000cd;"><u>การไถ่ทรัพย์คืนหรือการซื้อกลับคืน</u></span></h3> <p> <span style="color:#006400;"><strong>1. สินไถ่ </strong></span><span style="color: #ffffff;"><span style="color: #000000;">คือ จำนวนเงินที่ผู้ขายฝากต้องนำมาชำระแก่ผู้รับซื้อฝาก&nbsp;&nbsp; เพื่อขอไถ่เอาทรัพย์คืนซึ่งอาจจะตกลงไว้ในสัญญาขายฝากหรือไม่ได้ตกลงไว้ก็ ได้ และ<span style="text-decoration: underline;">สินไถ่จะต้องเป็นเงินเสมอ</span>และไถ่ถอนกันด้วยทรัพย์สินอย่างอื่นไม่ได้</span></span></p> <p> <span style="color:#800080;"><strong>2. ระยะเวลาการไถ่คืนทรัพย์สินที่ขายฝาก </strong></span></p> <p style="padding-left: 30px;"> <span style="color: #ffffff;"><span style="color: #000000;">2.1 การขายฝากอสังหาริมทรัพย์ ต้องกำหนดไถ่ถอนกันภายในเวลา<span style="text-decoration: underline;">ไม่เกิน&nbsp;10 ปี</span><br /> 2.2 การขายฝากสังหาริมทรัพย์ ต้องกำหนดไถ่ถอนกันภายในเวลา<span style="text-decoration: underline;">ไม่เกิน 3 ปี</span></span></span></p> <p> <span style="color:#b22222;"><strong>3. การไถ่ทรัพย์คืนมีข้อพิจารณาดังนี้</strong></span></p> <p style="padding-left: 30px;"> <span style="color: #ffffff;"><span style="color: #000000;">3.1 ต้องไถ่ภายในกำหนดเวลาที่ตกลงกันไว้ &nbsp;&nbsp;&nbsp;จะไถ่เมื่อเกินกำหนดแล้วไม่ได้&nbsp;และกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะตกเป็นของผู้ ซื้อฝาก อย่างเด็ดขาด &nbsp;&nbsp;ผู้ขายฝากหมดสิทธิไถ่<br /> 3.2 ขยายกำหนดเวลาไถ่ทรัพย์คืนสามารถทำได้ ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้รับไถ่</span></span></p> <p> <span style="color:#8b4513;"><strong>4. บุคคลที่มีสิทธิไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝากคืนได้</strong></span></p> <p style="padding-left: 30px;"> <span style="color: #ffffff;"><span style="color: #000000;">4.1 ผู้ขายฝากหรือทายาทของผู้ขายฝาก<br /> 4.2 ผู้รับโอนสิทธิการไถ่ทรัพย์สินคืน<br /> 4.3 บุคคลซึ่งในสัญญายอมไว้โดยเฉพาะว่าให้เป็นผู้ไถ่ได้</span></span></p> <p> <span style="color:#0000cd;"><strong>5. บุคคลที่มีสิทธิให้ไถ่คืนได้</strong></span></p> <p style="padding-left: 30px;"> <span style="color: #ffffff;"><span style="color: #000000;">5.1 ผู้รับซื้อฝากหรือถ้าหากผู้รับซื้อฝากตายก่อนครบกำหนดเวลาไถ่ &nbsp;ผู้ขายฝาก&nbsp;ต้องไปขอไถ่จากทายาทของผู้รับฝาก<br /> 5.2 ผู้รับโอนทรัพย์สินที่ขายฝากนั้น จากผู้ซื้อฝากเดิมดอกผลของทรัพย์สินที่ขายฝากที่เกิดขึ้นในระหว่างการขายฝาก ดอกผลของทรัพย์สินที่ขายฝากซึ่งเกิดขึ้นในระหว่างการขายฝากย่อมตกเป็นของผู้ ซื้อฝาก </span></span><br /> <br /> <br /> &nbsp;</p> Thu, 17 Jan 2013 16:43:00 +0700 จำนอง คืออะไร http://www.baan168.com/article/topic-858.html <span style="font-size:14px;"><strong><span style="color:#006400;"><u>จำนอง ความหมายของการ จำนอง</u></span></strong><br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <span style="color:#008000;"><strong>จำนอง</strong></span> คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า &ldquo;ผู้จำนอง&rdquo; เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่น ที่ดินหรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า &ldquo;ผู้รับจำนอง&rdquo; เพื่อเป็นหลักประกันในการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (ป.พ.พ. มาตรา 702)<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง นายเอกได้กู้เงินจากนายโทเป็นจำนวน 1 แสนบาท โดยนายเอกได้นำที่ดินของตนจำนวน 1 แปลงไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวน 1 แสนบาท ที่นายเอกได้กู้ไปจากนายโท โดยนายเอกไม่ต้องส่งมอบที่ดินของตนให้แก่นายโท นายเอกยังคงมีสิทธิครอบครองและใช้สอยที่ดินของตนได้ตามปกติ<br /> <br /> <strong><span style="color:#0000cd;"><u>การจำนองเพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองนั้น แบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ</u></span></strong><br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. การจำนองทรัพย์ของตนเองเพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ของตนเอง<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง นายเอก ได้กู้เงินจากนายโท 1 แสนบาท โดยนายเอกนำที่ดินซึ่งเป็นของตนเองไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้ของนายเอกเอง<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. การจำนองเพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ของบุคคลอื่น<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง นายเอกได้กู้เงินจากนายโท เป็นจำนวนเงิน 1 แสนบาท โดยนายตรีได้นำที่ดินของตนไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ที่นายเอกได้กู้ไปจากนายโท<br /> <br /> <span style="color:#a52a2a;"><u><strong>ทรัพย์สินที่อาจใช้ในการจำนองได้</strong></u></span><br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ได้ 2 ประเภทกล่าวคือ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน บ้าน หรือสิ่งปลูกสร้างทุกชนิดอันติดอยู่กับที่ดินนั้น<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. สังหาริมทรัพย์ ที่จำนองได้ คือ<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ก. เรือกำปั่น เรือที่มีระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระว่างตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ข. แพ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค. สัตว์พาหนะ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ง. สังหาริมทรัพย์อื่นๆ ซึ่งกฎหมายได้บัญญัติให้จดทะเบียนจำนองได้เช่น เครื่องจักรขนาดใหญ่เป็นต้น<br /> <br /> <span style="color:#800080;"><u><strong>หลักเกณฑ์ในการจำนอง</strong></u></span><br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. ผู้จำนองต้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิในทรัพย์ที่จะจำนอง<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. สัญญาจำนอง ต้องทำเป็นหนังสือและนำไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นสัญญาจำนองตกเป็นโมฆะ ไม่มีผลผูกพันแก่คู่สัญญาแต่อย่างใด ในการกู้ยืมเงินนั้นมีอยู่เสมอ ที่ผู้กู้ได้นำเอาโฉนดที่ดินของตนไปมอบให้แก่ผู้ให้กู้เก็บรักษาไว้เฉยๆ เพื่อเป็นหลักประกันในการชำระหนี้ โดยไม่มีการทำเป็นหนังสือและไม่ได้นำไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ในกรณีเช่นนี้ไม่ใช่การจำนอง ผู้ให้กู้หาได้มีสิทธิใดๆ ในที่ดินตามโฉนดแต่อย่างใด คงได้แต่เพียงกระดาษโฉนดไว้ในครอบครองเท่านั้น ดังนั้น ถ้าผู้ให้กู้ประสงค์ที่จะให้เป็นการจำนองตามกฎหมายแล้ว จะต้องทำเป็นหนังสือและนำไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. ต้องไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจรับจดทะเบียนจำนองตามกฎหมาย กล่าวคือ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ก. ที่ดินที่มีโฉนดต้องนำไปจดทะเบียนที่กรมที่ดิน หรือสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร (สาขา) หรือสำนักงานที่ดินจังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัด (สาขา) ซึ่งที่ดินนั้นต้องอยู่ในเขตอำนาจ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ข. ที่ดินที่ไม่มีโฉนด ได้แก่ที่ดิน น.ส. 3 ต้องไปจดทะเบียนที่อำเภอ ซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู่ในเขตอำนาจ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค. การจำนองเฉพาะบ้านหรือสิ่งปลูกสร้างไม่รวมที่ดินต้องไปจดทะเบียนจำนองที่อำเภอ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ง. การจำนองสัตว์พาหนะ หรือแพ ต้องไปจดทะเบียนที่อำเภอ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จ. การจำนองเรือต้องไปจดทะเบียนจำนองที่กรมเจ้าท่า<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ฉ. การจดทะเบียนเครื่องจักรต้องไปจดทะเบียนที่กระทรวงอุตสาหกรรม<br /> <br /> <span style="color:#b22222;"><u><strong>ผลของสัญญาจำนอง</strong></u></span><br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. ผู้รับจำนองมีสิทธิได้รับชำระหนี้จากทรัพย์สินที่จำนองก่อนเจ้าหนี้สามัญ โดยไม่ต้องคำนึงว่ากรรมสิทธิในทรัพย์สินนั้นจะได้โอนไปยังบุคคลภายนอกแล้วหรือไม่ก็ตาม<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง นายเอกได้กู้เงินจากนายโทเป็นเงิน 1 แสนบาท โดยนำที่ดินของตนไปจดทะเบียนจำนองไว้กับนายโท และต่อมานายเอกได้กู้เงินจากนายตรีอีก 1 แสนบาท โดยไม่ได้มีการนำที่ดินไปจดทะเบียนจำนองแต่อย่างใด ดังนี้ นายโทมีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้จากที่ดินดังกล่าวได้ก่อน นายตรี และแม้ว่านายเอกจะได้โอนกรรมสิทธิที่ดินแปลงนั้นไปให้บุคคลภายนอกแล้วก็ตามนายโทคงมีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้จากที่ดินแปลงดังกล่าวได้ก่อนเจ้าหนี้อื่นที่ไม่ได้ไปจดทะเบียนจำนองในที่ดินแปลงดังกล่าว<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. นอกจากนี้ผู้รับจำนองยังมีสิทธิที่จะเรียกเอาทรัพย์สินที่จำนองนั้นหลุดเป็นกรรมสิทธิของตนได้หากเข้าเงื่อนไข ดังนี้คือ<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; (1) ลูกหนี้ได้ขาดส่งดอกเบี้ยมาแล้วเป็นเวลาถึงห้าปี<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; (2) ผู้จำนองมิได้แสดงให้เป็นที่พอใจแก่ศาลว่าราคาทรัพย์สินนั้นท่วมจำนวนเงินอันค้างชำระ และ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; (3) ไม่มีการจำนองรายอื่น หรือบุริมสิทธิอื่นได้จดทะเบียนไว้เหนือทรัพย์สินอันเดียวกันนี้เอง<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง นายเอกได้กู้เงินจากนายโทเป็นจำนวนเงิน 1 ล้านบาทโดยนำที่ดินราคา 1 ล้านบาทเช่นกันไปจดทะเบียนจำนองไว้เป็นประกันการชำระหนี้ของตน โดยตกลงค่าดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี ต่อมาอีก 10 ปี นายเอกผิดนัดไม่เคยชำระเงินต้นหรือดอกเบี้ยให้แก่นายโทเลย ดังนั้นเมื่อรวมยอดหนี้คือเงินต้น 1 ล้านบาท กับดอกเบี้ยอีก 1 ล้านห้าแสนบาทแล้วจะเป็นเงิน 2 ล้านห้าแสนบาท นายโทมีสิทธิฟ้องนายเอกต่อศาลขอให้ศาลสั่งให้นายเอกโอนกรรมสิทธิในที่ดินดังกล่าวให้มาเป็นของนายโทได้เลย โดยไม่ต้องมีการขายทอดตลาดที่ดินดังกล่าวแต่อย่างใด<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. ถ้าเอาทรัพย์สินซึ่งจำนองออกขายตลาดใช้หนี้ได้เงินจำนวนสุทธิน้อยกว่าจำนวนเงินที่ค้างชำระกันอยู่ หรือ ถ้าเอาทรัพย์สินซึ่งจำนองหลุดเป็นของผู้รับจำนองและราคาทรัพย์นั้นมีราคาต่ำกว่าจำนวนเงินที่ค้างชำระกันอยู่ ทั้งสองกรณีนี้ เงินยังขาดจำนวนอยู่เท่าใด ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบจำนวนในเงินที่ยังขาดอยู่นั้น<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง นายเอกนำที่ดินไปจำนองนายโทเป็นเงิน 1 ล้านบาท ต่อมาเมื่อเจ้าหนี้บังคับจำนองเอาที่ดินออกขายทอดตลาดได้เงินเพียง 5 แสนบาท ดังนี้นายโทจะไปบังคับให้นายเอกชดใช้เงินจำนวนที่ยังขาดอยู่อีก 5 แสนบาทไม่ได้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ข้อยกเว้น แต่ถ้าในสัญญาจำนองได้ตกลงกันไว้ว่า ในกรณีที่มีการบังคับจำนองแล้วได้เงินไม่พอชำระยอดหนี้ เงินที่ยังขาดจำนวนนี้ลูกหนี้ยังคงต้องรับผิดชดใช้ให้แก่ผู้รับจำนองจนครบถ้วนข้อตกลงเช่นนี้มีผลบังคับได้ไม่ถือว่าเป็นการผิดกฎหมาย ผู้รับจำนองมีสิทธิที่จะบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ส่วนที่ยังขาดจำนวนอยู่ดังกล่าวได้อีกจนครบถ้วน<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง นายเอกนำที่ดินไปจำนองนายโท 1 ล้านบาท โดยตกลงกันว่าหากนายโทบังคับจำนองแล้วได้เงินไม่ครบ 1 ล้านบาท นายเอกยินยอมชดใช้เงินที่ยังขาดจำนวนอยู่นั้นคืนให้แก่ผู้รับจำนองจนครบถ้วน ต่อมานายโทบังคับจำนองนำที่ดินออกขายทอดตลาดได้เงินเพียง 5 แสนบาท เงินที่ยังขาดอีก 5 แสนบาทนี้ นายโทมีสิทธิบังคับให้นายเอกชำระคืนให้แก่ตนจนครบถ้วนได้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. ในกรณีที่มีการบังคับจำนอง เมื่อนำที่ดินออกขายทอดตลาดได้เงินสุทธิเท่าใดแล้วก็ให้นำเงินดังกล่าวชำระหนี้คืนให้แก่ผู้รับจำนอง หากมีเงินเหลืออยู่เท่าใดก็ให้ส่งมอบคืนให้แก่ผู้จำนองผู้รับจำนองจะเก็บไว้เสียเองไม่ได้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง นายเอกจำนองที่ดินไว้กับนายโทเป็นเงิน 1 ล้านบาท ต่อมาเมื่อนายโท บังคับจำนองได้เงินจากการขายทอดตลาดที่ดินดังกล่าวเป็นเงิน 2 ล้านบาท นายโทก็หักเงินที่เป็นหนี้ตนอยู่ 1 ล้านบาท ส่วนเงินที่ยังเหลืออยู่อีก 1 ล้านบาท นั้น นายโทต้องคืนนายเอกไป<br /> <br /> <span style="color:#006400;"><u><strong>ขอบเขตของสิทธิจำนอง</strong></u></span><br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้รับจำนองมีสิทธิบังคับจำนองได้เฉพาะทรัพย์ที่จดทะเบียนจำนองเท่านั้น จะไปบังคับถึงทรัพย์สินอื่นๆ ที่ไม่ได้จดทะเบียนจำนองไม่ได้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เช่น จำนองเฉพาะที่ดินย่อมไม่ครอบถึงโรงเรือนหรือบ้านที่ปลูกภายหลังวันจำนองเว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้ก่อนหน้าว่าให้รวมถึงบ้านและโรงเรือนดังกล่าวด้วย<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - จำนองเฉพาะบ้านซึ่งปลูกอยู่ในที่ดินของคนอื่น ก็มีสิทธิเฉพาะบ้านเท่านั้น<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - จำนองย่อมไม่ครอบคลุมถึงดอกผลแห่งทรัพย์สินซึ่งจำนอง เช่น จำนองสวนผลไม้ดอกผลที่ได้จากสวนผลไม้ยังคงเป็นกรรมสิทธิของผู้จำนองอยู่<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; ทรัพย์สินซึ่งจำนองอยู่นี้ ย่อมเป็นประกันเพื่อการชำระหนี้ดังต่อไปนี้คือ<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. เงินต้น<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. ดอกเบี้ย<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. ค่าเสียหายในการไม่ชำระหนี้ เช่นค่าทนายความ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. ค่าธรรมเนียมในการบังคับจำนอง<br /> <br /> <span style="color:#008080;"><u><strong>วิธีบังคับจำนอง</strong></u></span><br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้รับจำนองต้องมีจดหมายบอกกล่าวไปยังลูกหนี้ว่าให้ชำระหนี้ภายในเวลาอันสมควร ซึ่งปกติจะใช้เวลาประมาณ 30 วัน หากลูกหนี้ไม่ชำระหนี้คืนภายในกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ผู้รับจำนองจะใช้สิทธิบังคับจำนอง หากถึงกำหนดนัดแล้วลูกหนี้ไม่นำเงินมาชำระ ผู้รับจำนองต้องฟ้องผู้จำนองต่อศาล เพื่อให้ลูกหนี้ปฏิบัติการชำระหนี้ หากไม่ชำระหนี้ ก็ขอให้ศาลสั่งให้นำเอาทรัพย์ที่จำนองนั้นออกขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้ของตน หรือขอให้ศาลสั่งให้ทรัพย์ที่จำนองนั้นหลุดเป็นกรรมสิทธิของตนหากเข้าเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จะเห็นได้ว่ากฎหมายบังคับไว้โดยเด็ดขาดว่าการบังคับจำนองจะต้องฟ้องคดีต่อศาลเสมอจะนำเอาที่ดินออกขายทอดตลาดเองไม่ได้ และต้องมีการออกจดหมายทวงหนี้ไปถึงลูกหนี้ก่อนเสมอจะฟ้องคดีโดยไม่มีการบอกกล่าวทวงถามก่อนไม่ได้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การบังคับจำนองนี้จะไม่คำนึงเลยว่าในขณะที่มีการบังคับจำนองนั้น ทรัพย์สินที่จำเลยอยู่ในความครอบครองของใคร หรือลูกหนี้ได้โอนกรรมสิทธิไปยังผู้อื่นกี่ทอดแล้วก็ตาม สิทธิจำนองย่อมติดตามตัวทรัพย์สินที่จำนองไปด้วยเสมอ แม้ว่าจะเป็นการโอนทางมรดกก็ตามสิทธิจำนองก็ติดตามไปด้วย<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง นายเอกจำนองที่ดินแปลงหนึ่งไว้กับนายโท เป็นเงิน 1 ล้านบาท ต่อมานายเอกตายโดยยกมรดกที่ดินดังกล่าวไปให้นายจู๋ลูกชายของตน การตายของนายเอกหาได้ทำให้สิทธิของนายโทหมดไปไม่ นายโทมีสิทธิบังคับจำนองที่ดินแปลงดังกล่าวได้แม้ว่าจะเป็นชื่อของนายจู๋แล้วก็ตาม<br /> <br /> <span style="color:#800000;"><u><strong>หนี้ที่ขาดอายุความไปแล้วจะมีผลกระทบถึงการจำนองหรือไม่</strong></u></span><br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แม้ว่าหนี้ที่เป็นประกันนั้นจะขาดอายุความแล้วก็ตาม ผู้รับจำนองก็ยังมีสิทธิที่จะบังคับจำนองเอาทรัพย์สินที่จำนองได้ ดังนั้น จึงไม่มีผลกระทบถึงสิทธิของผู้รับจำนองในทรัพย์สินที่จำนองแต่อย่างใด แต่จะบังคับเอาดอกเบี้ยที่ค้างชำระในการจำนองเกินกว่า 5 ปีไม่ได้ (ป.พ.พ. มาตรา 745)<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง นายเอกนำที่ดินไปจำนองไว้กับนายโทเป็นเงิน 1 ล้านบาทกำหนดชำระคืนในวันที่ 1 มกราคม 2510 เมื่อถึงกำหนดชำระแล้ว นายโทก็มิได้ติดตามทวงถามจากนายเอกเลยจนถึงวันที่ 1 มกราคม 2527 จึงได้บังคับจำนองซึ่งหนี้เงินกู้นั้นต้องฟ้องภายใน 10 ปีนับแต่วันที่ถึงกำหนดซึ่งกรณีหนี้เงินกู้ขาดอายุความไปเป็นเวลานานแล้วนายเอกจะต่อสู้ว่าหนี้เงินกู้ได้ขาดอายุความไปแล้วดังนั้นตนจึงไม่ต้องรับผิดตามสัญญาจำนองไม่ได้ เพราะแม้ว่าหนี้เงินกู้จะขาดอายุความก็ตามแต่สิทธิจำนองยังอยู่หาได้หมดไปตามอายุความไม่ นายโทจึงมีสิทธิบังคับจำนองที่ดินดังกล่าวได้ แต่นายโทจะบังคับในส่วนดอกเบี้ยที่ค้างชำระเกินกว่า 5 ปีไม่ได้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการจำนองเป็นหลักประกันการชำระหนี้อย่างแท้จริง ดังนั้นหากเจ้าหนี้ประสงค์ที่จะได้รับชำระหนี้คืนแล้ว เจ้าหนี้จึงควรให้ลูกหนี้นำทรัพย์สินมาจำนองเป็นประกันการชำระหนี้ด้วย<br /> <br /> <span style="color:#ff0000;"><u><strong>การชำระหนี้จำนอง</strong></u></span><br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การชำระหนี้จำนองทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ดี การระงับหนี้จำนองไม่ว่าในกรณีใดๆ ก็ดีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อตกลงในการจำนองก็ดี กฎหมายบังคับให้ไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่มิฉะนั้น แล้วจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกไม่ได้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่าง นายเอกจำนองที่ดินของตนไว้กับนายโท ต่อมานายโทยอมปลดจำนองที่ดินดังกล่าวให้แก่นายเอกแต่ทั้งสองฝ่ายมิได้ไปจดทะเบียนการปลดจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ต่อมานายโทโอนการจำนองให้นายจัตวาโดยจดทะเบียนถูกต้อง แล้วนายจัตวาได้บังคับจำนองที่ดินแปลงนี้ นายเอกจะยกข้อต่อสู้ว่านายโทปลดจำนองให้แก่ตนแล้วขึ้นต่อสู้กับนายจัตวาไม่ได้</span><br /> <br /> Thu, 17 Jan 2013 16:43:00 +0700 การขอราคาประเมิน http://www.baan168.com/article/topic-860.html <span style="font-size:14px;"><u><strong>การขอราคาประเมิน</strong></u><br /> <br /> 1. การกำหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ของอสังหาริมทรัพย์<br /> <br /> กรมที่ดินมีหน้าที่รับผิดชอบการกำหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ ของอสังหาริมทรัพย์ เพื่อใช้สำหรับเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตาม<br /> ที่กฎหมายกำหนด<br /> ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท คือ ที่ดิน โรงเรือนสิ่งปลูกสร้าง และห้องชุดโดยมีสำนักงานกลางประเมินราคาทรัพย์สินเป็นผู้ปฏิบัติ สรุปได้ดังนี้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (1) จัดทำบัญชีราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินรายแปลง ซึ่งขณะนี้ใช้อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร 50 เขต เทศบาลเมืองหลัก 5 เทศบาล คือ สมุทรปราการ<br /> นนทบุรี ภูเก็ต นคร<br /> ราชสีมา เชียงใหม่ และพื้นที่อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี และสุขาภิบาลสำโรงเหนือ จังหวัดสมุทรปราการ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (2) จัดทำบัญชีราคาประเมินทุนทรัพย์โรงเรือนสิ่งปลูกสร้างทุกจังหวัด ตามแบบมาตรฐานที่กำหนดไว้ 46 แบบ รายละเอียด<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (3) จัดทำบัญชีราคาประเมินทุนทรัพย์ห้องชุดในทุกจังหวัดทั่วประเทศ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (4)เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะอนุกรรมการกำหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ กรุงเทพมหานครและคณะกรรมการกำหนดราคาประเมิน<br /> ทุนทรัพย์ซึ่งมีหน้าที่ต่าง ๆ เช่น จัดประชุม รวมทั้งรวบรวมข้อมูลและเสนอความเห็นประกอบการพิจารณา ตามอำนาจหน้าที่<br /> ของคณะอนุกรรมการและคณะกรรมการดังกล่าว<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับการจัดทำบัญชีกำหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินรายบล็อก (Block) ซึ่งใช้อยู่ในส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ สำนักงานที่ดินจังหวัดต่าง ๆ ในฐานะฝ่ายเลขานุการ<br /> คณะอนุกรรมการกำหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ประจำจังหวัด จะเป็นผู้รับผิดชอบ โดยมีสำนักงานกลางประเมินราคาทรัพย์สินเป็นผู้ให้คำแนะนำและอบรมวิธีการจัด ทำบัญชี<br /> ดังกล่าวแก่สำนักงานที่ดินจังหวัดต่าง ๆ เพื่อให้การจัดทำบัญชีราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินเป็นมาตรฐานเดียวกันพร้อม ทั้งเป็นผู้ตรวจสอบกลั่นกรองก่อนนำเสนอคณะกรรม<br /> การกำหนดราคาประเมินทุนทรัพย์พิจารณา ให้ความเห็นชอบก่อนการประกาศใช้ต่อไป<br /> <br /> 2. การขอหนังสือรับรองราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดิน<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (1) บัญชีกำหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินโดยปกติประชาชนทั่วไปสามารถขอดูหรือขอ ทราบราคาประเมินทุนทรัพย์ได้ ณ สำนักงานที่ดินท้องที่แต่หาก<br /> ต้องการคัดสำเนาบัญชี<br /> หรือรูปแผนที่ประกอบบัญชี หรือขอให้ออกหนังสือรับรองราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินแปลงใด ผู้ขอจะต้องเป็นเจ้าของที่ดิน หรือผู้ได้รับมอบอำนาจจากเจ้า<br /> ของที่ดินแปลงนั้นเท่านั้น โดยผู้ขอจะต้องเสียค่าธรรมเนียมในการขอคัดหรือขอรับรองราคาประเมินตาม ระเบียบ อย่างไรก็ตาม การที่ประชาชนทั่วไปซึ่งมีความประสงค์เพียง<br /> เพื่อขอดูหรือขอทราบราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินโดยไม่มีการขอคัดสำเนาหรือขอ ให้ออกหนังสือรับรองก็อาจขอดูได้ที่สำนักงานกลางประเมินราคาทรัพย์สิน (อาคารตลิ่งชัน) ซึ่งมีบัญชีราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินทั่วประเทศไว้บริการ โดยผู้ขอไม่จำเป็นต้องเดินทางไปติดต่อที่สำนักงานที่ดินท้องที่ แต่การบริการดังกล่าวยังมีข้อจำกัดในเรื่องของที่ดินซึ่งตั้งอยู่นอก เขตกรุงเทพมหานครที่ใช้ราคาประเมินที่ดินแบบรายบล็อก เพราะหากผู้ขอไม่ทราบตำแหน่งที่ตั้งของที่ดินที่แน่นอนว่าอยู่ในบล็อคใดและหน่วยใดแล้ว ก็จะไม่สามารถระบุได้ว่าที่ดินแปลงนั้นมีราคาประเมินทุนทรัพย์เท่าใด ฉะนั้นในกรณีนี้ ผู้ขอดูหรือขอทราบราคาประเมินจำเป็นจะต้องรู้<br /> ตำแหน่งที่ตั้งของที่ดินแปลงนั้น ๆ เป็นอย่างดีด้วยจึงจะสามารถทราบราคาที่ดินที่ถูกต้องได้<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (2) หลักฐานที่จะต้องนำไปประกอบคำขอ<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. โฉนดที่ดิน, น.ส.3, น.ส.3ก, ฯลฯ หรือสำเนาเอกสารดังกล่าว (กรณีไม่สามารถนำมาได้)</span><br /> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span style="font-size:14px;">2. บัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรข้าราชการ บัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ ของผู้ขอและผู้รับมอบอำนาจพร้อมสำเนาบัตรดังกล่าว ในกรณีมอบอำนาจจะต้องนำบัตรประจำ<br /> ตัวประชาชน<br /> หรือบัตรข้าราชการ บัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจพร้อมสำเนาบัตรดังกล่าวที่รับรองสำเนาแล้วของผู้มอบ อำนาจมาด้วย</span><br /> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span style="font-size:14px;">3. สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอ ในกรณีมอบอำนาจต้องนำสำเนาทะเบียนบ้านของผู้มอบอำนาจ และผู้รับมอบอำนาจมาด้วย</span><br /> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span style="font-size:14px;">4. หลักฐานของนิติบุคคล หรือหนังสือมอบอำนาจ ในกรณีไม่สามารถไปด้วยตนเอง<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (3) ยื่นคำขอกับพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สำนักงานที่ดินจังหวัด สำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา สำนักงานที่ดินอำเภอ ที่ที่ดินนั้นตั้งอยู่<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (4) ค่าใช้จ่ายในการรับรองราคาประเมิน<br /> <br /> ค่าคำขอแปลงละ 5 บาท<br /> ค่ารับรองฉบับละ 10 บาท<br /> ค่าพยานคำขอเรื่องละ 20 บาท<br /> ค่ามอบ (ถ้ามี) เรื่องละ 20 บาท</span><br /> <br /> Thu, 17 Jan 2013 16:43:00 +0700 เอกสารที่ใช้ทำ จำนอง ขายฝาก http://www.baan168.com/article/topic-861.html <span style="font-size:14px;"><span style="color:#006400;"><u><strong><span style="font-size: 16px;">บุคคลธรรมดา</span></strong></u></span><br /> <br /> 1. โฉนดที่ดิน ตัวจริง (พร้อมสำเนา)<br /> 2. ทะเบียนบ้าน ตัวจริง (พร้อมสำเนา)<br /> 3. บัตรประชาชน (พร้อมสำเนา)<br /> 4. ใบเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล ตัวจริง (พร้อมสำเนา)<br /> 5. ทะเบียนสมรส หรือ ทะบียนหย่า<br /> 6. หนังสือยินยอมให้ทำนิติกรรมของคู่สมรส<br /> 7. มรณะบัตรคู่สมรส<br /> 8. ใบขออนุญาติปลูกสร้าง (กรณีเป็นบ้านที่ปลูกสร้างเอง)<br /> 9. ใบปลอดค่าสาธารณูปโภค หรือ ใบปลอดหนี้ เช่น ค่าส่วนกลาง ค่าน้ำ ค่าไฟ (ในกรณีเป็นอาคารชุด หรือ คอนโด)<br /> 10. ถ้ามีการแปลงสัญชาติให้นำหลักฐานการแปลงสัญชาติมาด้วย<br /> <br /> <span style="color:#800080;"><u><strong><span style="font-size: 16px;">นิติบุคคล ห้างร้าน</span></strong></u></span><br /> <br /> 1. โฉนดที่ดิน ตัวจริง (พร้อมสำเนา)<br /> 2. บัตรประชาชน ของกรรมการผุ้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคล ตัวจริง (พร้อมสำเนา)<br /> 3. ทะเบียนบ้าน ของกรรมการผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคล (พร้อมสำเนา)<br /> 4. หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล<br /> 5. หนังสือบริคณห์สนธิและวัตถุประสงค์<br /> 6. ข้อบังคับของนิติบุคคล<br /> 7. บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นของนิติบุคคลไทยที่ถือหุ้นในบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชน จำกัด<br /> 8. แบบรับรองรายการจดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วน กรณีห้างหุ้นส่วนจำกัดหรือ ห้างหุ้นส่วนสามัญที่จดทะเบียนแล้ว<br /> 9. หนังสือรายงานการประชุมนิติบุคคล<br /> 10. ใบขออนุญาติปลูกสร้าง (กรณีเป็นบ้านที่ปลูกสร้างเอง)<br /> 11. ใบปลอดค่าสาธารณูปโภค หรือ ใบปลอดหนี้ เช่น ค่าส่วนกลาง ค่าน้ำ ค่าไฟ (ในกรณีเป็นอาคารชุด หรือ คอนโด)<br /> <br /> &nbsp;&nbsp; &nbsp;<span style="color:#8b4513;"><strong>หมายเหตุ:</strong></span> ในการทำธุรกรรมที่สำนักงานกรมที่ดิน กรุณาเตรียมเอกสารไปให้ครบเพื่อความสะดวกในการทำ (กรุณาถ่ายสำเนาเอกสารให้พร้อมเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการทำธุรกรรม)</span><br /> <br /> <br /> Thu, 17 Jan 2013 16:43:00 +0700 การเปลี่ยนแปลงสัญญาขายฝาก http://www.baan168.com/article/topic-863.html <span style="font-size:14px;"><span style="color:#006400;"><u><span style="font-size: 16px;"><strong>การเปลี่ยนแปลงสัญญาขายฝาก</strong></span></u></span><br /> <br /> <span style="color:#800080;"><strong>คำถาม :</strong></span> หากทำสัญญาขายฝากโดยดำเนินการที่กรมที่ดินเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว ภายหลังต้องการ เปลี่ยนแปลงระยะเวลาไถ่ถอนเร็วขึ้นจากเดิม และเปลี่ยนยอดเงินไถ่ถอนสูงขึ้นกว่าเดิม ซึ่ง เป็นความประสงค์ร่วมและยินยอมของทั้งผู้ขายฝากกับผู้รับซื้อฝาก และต้องการดำเนินการ ให้ถูกต้องโดยจดเปลี่ยนแปลงข้อตกลง ณ กรมที่ดินเพื่อมิให้มีปัญหาภายหลังต่อกัน สามารถดำเนินการได้หรือไม่และต้องมีค่าใช้จ่ายหรือค่าธรรมเนียมใด ๆ เพิ่มเติมอีกหรือไม่อย่างไร และจะมีผลกระทบใด ๆ ตามมาหรือไม่หากเลยกำหนดไถ่ถอนแล้ว ผู้ซื้อฝากนำไป ขายให้กับบุคคลอื่น<br /> <br /> <span style="color:#ff0000;"><strong>คำตอบ :</strong></span> กรณีตามคำถามขอเรียนว่า เมื่อมีการจดทะเบียนขายฝากอสังหาริมทรัพย์โดยมีกำหนดเวลาไถ่จากขายฝากและสินไถ่ไว้แล้ว ต่อมาผู้ขายฝากและผู้รับซื้อฝากต้องการที่จะ ขอลดระยะเวลาขายฝาก และลดสินไถ่ลง กรณีเช่นนี้ไม่มีกฎหมายห้ามไว้ก็ย่อมทำได้โดยจดทะเบียนในประเภท <strong><span style="color:#a52a2a;">&ldquo;แก้ไขเพิ่มเติมสัญญาขายฝาก&rdquo;</span></strong> จะเสียค่าธรรมเนียมใน ประเภทไม่มีทุนทรัพย์แปลงละ ๕๐ บาท</span><br /> <br /> <div style="text-align: center;"> <span style="font-size:14px;">ส่วนมาตรฐานการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม<br /> สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน<br /> ๑ ตุลาคม ๒๕๕๓</span></div> <br /> <br /> <br /> Thu, 17 Jan 2013 16:43:00 +0700